วันพฤหัสบดีที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2557

2.2.8.3 การ Export ไฟล์เพื่อนำไปใช้กับเอกสารอื่นๆ

2.2.8.3 การ Export ไฟล์เพื่อนำไปใช้กับเอกสารอื่นๆ
                        การส่งออกไฟล์เพื่อนำไปใช้ นอกจากจะส่งออกในแบบของการ Publish แล้วยังสามารถส่ง                ออกแบบเดี่ยวๆ ตามแต่ชนิดของการใช้งานตามต้องการ ดังนี้
 ขั้นตอนการส่งออกภาพเดียว
              1. คลิกเมนู File > Export > Export Image... (หมายเลข 1)

                2. เลือกสถานที่บันทึก และพิมพ์ชื่อไฟล์ที่ต้องการบันทึก (หมายเลข 2)
               เลือกชนิดของไฟล์ (หมายเลข 3) แล้วคลิก Save (หมายเลข 4)


                              3. กำหนดคุณสมบัติของไฟล์ โดยตั้งค่าในกรอบหมายเลข 5เมื่อกำหนดค่าตามต้องการ                         แล้ว คลิก OK (หมายเลข 6) เพื่อส่งออกไฟล์




2.2.8.2 การ Publish

2.2.8.2       การ Publish
           เมื่อสร้างงานตามทีต้องการแล้ว ขั้นตอนสุดท้าย คือการนำผลงานไปใช้ หรือการส่งออก                            โดยสามารถเลือกรูปแบบการส่งออกเป็นไฟล์ชนิดต่างๆ ตามวัตถุประสงค์การใช้งานซึ่งทำได้ ดังนี้
                                 ขั้นตอนการ Publish
                        1.  คลิกเมนู File > Publish Settings


                   2. ที่หน้าต่าง Publish Settings กำหนดรูปแบบไฟล์ กำหนดชื่อไฟล์ และกำหนดสถาน                 ที่หรือ Path ที่ต้องการส่งออก


                   1. การกำหนดชนิดไฟล์ที่ต้องการส่งออกทำได้โดย คลิกเครื่องหมายถูก หน้าชนิดของ                  ไฟล์ที่ต้องการ (กรอบหมายเลข 1)
                   2. เมื่อคลิกในข้อ 2.1 แล้ว จะปรากฏแท็บคุณสมบัตินั้นๆ ( ดังกรอบหมายเลข 2)
                   3. หากต้องการเปลี่ยนชื่อไฟล์ สามารถเปลี่ยนได้ในช่องกรอบหมายเลข 3
                   4. การเลือกสถานที่ หรือ Path ในการบันทึกไฟล์ ทำได้โดยคลิกสัญลักษณ์โฟลเดอร์ใน                หมายเลข 4
                   ในการกำหนดคุณสมบัติการส่งออกของ ไฟล์แต่ละชนิด ทำได้โดยคลิกแท็บชนิดนั้นๆ                  เช่น การกำหนดค่าการส่งออกภาพเคลื่อนไหวของ Flash ซึ่งจะได้ไฟล์ .swf เมื่อคลิกแท็บ Flash                    จะปรากฏหน้าต่างสำหรับ การตั้งค่าคุณสมบัติ ดังภาพที่ 3 แล้วกำหนดค่าตามต้องการ



            ในกรณีต้องการส่งออกเป็นรูปภาพ ชนิด .jpg ทำได้โดยคลิกที่แท็ป JPEGซึ่งจะได้หน้าต่าง                  สำหรับการตั้งค่าคุณสมบัติดังภาพ แล้วกำหนดค่าตามต้องการ


                         ในกรณีต้องการส่งออกเป็นรูปภาพ ชนิด .gif ทำได้โดยคลิกที่แท็ป GIFซึ่งจะได้หน้าต่าง                        สำหรับการตั้งค่าคุณสมบัติดังภาพ แล้วกำหนดค่าตามต้องการ



                             หรือหากต้อง การส่งออกเป็นไฟล์เว็บเพจ ทำได้โดยคลิกที่แท็ป HTMLซึ่งจะได้หน้าต่าง                 สำหรับการตั้งค่าคุณสมบัติแล้วกำหนดค่าตามต้องการ


                                 เมื่อกำหนดค่าต่างๆ ตามต้องการแล้ว คลิกที่ปุ่ม Publish เพื่อทำการส่งออกไฟล์และ                 นำไปใช้ต่อไป


2.2.8 การเผยแพร่ชิ้นงานที่สร้าง 2.2.8.1 การเผยแพร่และนำไปใช้

                      2.2.8   การเผยแพร่ชิ้นงานที่สร้าง
                               2.2.8.1  การเผยแพร่และนำไปใช้
                                          เกี่ยวกับการสร้างมูฟวี่ (Movie)
               1. การสร้างภาพเคลื่อนไหว แบบ Motion Tween จะทำให้ไฟล์เล็กกว่าแบบ Frame by                    Frame
               2. หลีกเลี่ยงการนำภาพบิตแมพ มาสร้างเป็นภาพเคลื่อนไหว ควรนำมาใช้เป็นฉากหลัง                    หรือภาพนิ่งเท่านั้น
               3. ควรใช้ซิมโบล แทนออบเจ็คที่มีปรากฏอยู่ในมูฟวี่ (ดูได้จากหน้าต่าง Library)
               4. หากจำเป็นต้องนำภาพบิตแมพ มาใช้ ควรตัดภาพให้ขนาดเล็กเท่าที่จำเป็นและบีบอัด                   คุณภาพลงก่อน
               5. หากต้องใช้เสียง ควรเลือกประเภท MP3 เนื่องจากเป็นไฟล์ที่มีขนาดเล็ก
             เกี่ยวกับการ สร้างวัตถุ (Object)
               1. ควรรวมวัตถุ ให้เป็นกลุ่ม (Group) ให้มากที่สุด
               2. ควรแยกเลเยอร์ที่มีวัตถุเคลื่อนไหว และไม่เคลื่อนไหว ออกจากกัน
               3. การวาดเส้นทึบธรรมดา จะทำให้ไฟล์มีขนาดเล็กกว่าเส้นแบบจุด (dash) หรือ เส้นที่มี                     ลวดลาย
               4. การวาดเส้นด้วยดินสอ (Pencil) จะทำให้ไฟล์มีขนาดเล็กกว่าการวาดเส้นด้วยแปรง                         (Brush)
              5.ภาพบิตแมพที่ไม่มีความซับซ้อน ลดขนาดลงได้ด้วยการทำ break apart
              6. ควรใช้คำสั่ง Modify > Shape > Optimize เพื่อลดจำนวนเส้นที่ประกอบกันเป็นรูปทรง
             เกี่ยวกับการ สร้างตัวอักษรและข้อความ
              1. การใช้รูปแบบตัวอักษรที่หลากหลาย ทำให้ไฟล์มีขนาดใหญ่
              2. การฝังฟอนต์ (Embedded) ไปกับมูฟวี่ ทำให้ไฟล์มีขนดใหญ่ ควรใช้เท่าที่จำเป็น
             เกี่ยวกับการใช้ สี
              1. หากรูปภาพหรือวัตถุ ทีมีความคล้ายกัน ควรสร้างจากซิมโบล แล้วค่อยนำมาปรับขนาด                      หรือสี
              2. ควรใช้ฟิลเตอร์เท่าที่จำเป็น
                                       1. คลิกที่แท็บ Formats แล้วคลิกเลือก Windows Projector (.exe) (หมายเลข                                   15)สามารถเลือก Path สำหรับการส่งออกได้ (หมายเลข 16) ทำการส่งออกโดยคลิก Publish                                    (หมายเลข 17)


                     2.  เมื่อทำแอนิเมชั่นเสร็จตามต้องการแล้ว การส่งออกไฟล์เพื่อนำเสนอ ทำได้โดยคลิกเมนู File > Pubblish Settings... (หมายเลข 14)





2.2.7.3 การปรับเปลี่ยนเกี่ยวกับวิดีโอ

                    2.2.7.3   การปรับเปลี่ยนเกี่ยวกับวิดีโอ
              หลังจากการนำเข้าไฟล์วิดีโอแล้ว เราสามารถปรับเปลี่ยนการตั้งค่าต่างๆ ได้ ซึ่งสามารถ              ทำได้จากหน้าต่างโปรแกรม Flash 8 ได้โดยตรง
              ขั้นตอนการทำงาน

             1. เปิดไฟล์วิดีโอ ที่ได้นำเข้ามาแล้ว (หมายเลข 1) แล้วคลิกที่ object หรือที่ภาพวิดีโอ


             2. ที่หน้าต่าง Properties คลิกแท็บ Parameters (หมายเลข 2)
             3. คลิกตั้งค่าการเล่นอัตโนมัตจากหน้าต่างในช่อง AutoPlay (หมายเลข 3)โดยค่า True คือ              เมื่อเปิดวิดีโอ กำหนดให้เล่นอัตโนัติ  False คือ เมื่อเปิดวิดีโอ กำหนดให้หยุดไว้ก่อน


             4. ในทำนองเดียวกัน การตั้งค่าอื่นๆ หากมีตัวเลือก True และ False สามารถกำหนดค่า                  ลักษณะเดียวกัน เช่นการตั้งค่าการเล่นวนซ้ำ (หมายเลข 4)โดยค่า True คือ  เมื่อเปิดเล่นวิดีโอ                      เมื่อเล่นจบแล้ว กำหนดให้เล่นวนซ้ำ  False คือ เมื่อเปิดเล่นวิดีโอ เมื่อเล่นจบแล้ว ไม่ต้องวนซ้ำ


             5. การปรับเปลี่ยนหน้ากากแผงควบคุมการเล่นทำได้โดย คลิก ช่อง Skin (หมายเลข 5) แล้ว                คลิกที่สัญลักษณ์แว่นขยาย (หมายเลข 6)



             6.เลือกรูปแบบได้โดยคลิกที่หน้าต่างช่อง Skin (หมายเลข 7)







2.2.7.2 ตัวอย่างการใส่เสียงลงในเฟรม (Sound Loop)

2.2.7.2   ตัวอย่างการใส่เสียงลงในเฟรม (Sound Loop)
  การเผยแพร่วิดีโอด้วย Flash มีหลายรูปแบบ เช่น
             แบบ Progressive จากเว็บเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งเป็นการลิงค์ไฟล์จากภายนอกมาใช้ ทำให้นำเสนอ           ได้เร็วแต่มีข้อจำกัดคือ ความเร็วของอินเทอร์เน็ตต้องเร็วด้วย ถ้าความเร็วน้อยอาจทำให้วิดีโอกระตุกได้           แบบ Streaming เป็นการลิงค์ไฟล์จากภายนอกเช่นกันแต่จะเล่นแบบ real time (ถ่ายทอดสด) ซึ่ง                 ต้องอาศัยบริการเฉพาะของเซิร์ฟเวอร์
            แบบ Streaming โดยใช้ Flash Communication Server ซึ่งจะต้องมีโปรแกรมควบคุมการ           เล่นและติดต่อกับผู้ชม เช่น Flash Media Serverแบบ Embedding Video เป็นการฝังหรือแนบไฟล์              วิดีโออยู่ในไฟล์ Flash ด้วย ซึ่งเวลาที่ผู้ชมจะชมต้องดาวน์โหลดไฟล์มาทั้งหมดได้ก่อน ซึ่งเหมาะสำหรับ         ไฟล์วิดีโอสั้นๆ (ไม่ต้องดาวน์โหลดนาน)
          แบบ Link QuickTime video สำหรับไฟล์วิดีโอแบบ QuickTime (.mov) ถ้าตั้งค่าการเล่น              ด้วย Flash Playerโปรแกรมจะเรียกไฟล์มาเล่นด้วย Quick Time Player
           การเผยแพร่วิดีโอแบบ Progressive และ แบบ Streaming
                                   1. คลิกเมนู File > Import > Import Video   


          2. คลิก Browse เพื่อเลือกไฟล์วิดีโอ (หมายเลข 2)
                                  3. เลือกไฟล์วิดีโอที่ต้องการ (หมายเลข 3)
                                  4. คลิก Open (หมายเลข 4)


           5. คลิก Next (ปุ่มด้านล่าง)
           6. เลือกรูปแบบการเผยแพร่ตามต้องการ (หมายเลข 5)


                                   7. คลิก Next >(ปุ่มด้านล่าง)
                                   8. คลิกแล้วเลือกคุณภาพการเข้ารหัส (หมายเลข 6)
                                   9. คลิก Next > (หมายเลข 7)


            10. คลิกแล้วเลือกรูปแบบหน้ากากแผงควบคุม (หมายเลข 8)
                                    11. คลิก Next > (หมายเลข 9)   


                                    12. คลิก Next (ปุ่มด้านล่าง)
            13. คลิก Finish (ปุ่มด้านล่าง)
            14. รอสักครู่จะมีหน้าต่างแสดงความคืบหน้าการเข้ารหัส (ภาพที่ 6)


15. เมื่อเสร็จแล้วจะได้ดังภาพที่ 7 สามารถทดสอบดูได้โดยกด Ctrl + Enter


                                               

2.2.7 การใช้งานเสียง , การใช้งานวิดีโอ 2.2.7.1 การนำเข้าไฟล์เสียง

               2.2.5   การใช้งานเสียง , การใช้งานวิดีโอ

                2.2.7.1 การนำเข้าไฟล์เสียง
                          ประเภทของไฟล์เสียง  เสียงที่ใช้ในงาน Flash มี 2 ประเภทคือ
             1. Sound Loop เป็นเสียงดนตรีบรรเลงหรือท้านองเพลงที่เล่นวนซ้ำๆ ไปเรื่อยๆ ท้า                 ให้งานเกิดอารมณ์ร่วมให้กับผู้ชม ถ้าใช้ดนตรีเร็วๆ ท้าให้งานสนุกสนาน ตื่นเต้นและน่าสนใจเสียง                    ประเภทนี้จะใส่ไว้ในเฟรมบน Timeline โดยจะมีเสียงเมื่อเล่นมาถึงเฟรมที่เราใส่เสียงไว้
             2. Sound Effect  เป็นเสียงประกอบสั้น จะใช้ใส่ในปุ่มเพื่อให้มีเสียงเวลาที่เราวาง                เมาส์ที่ปุ่มหรือคลิกปุ่ม ท้าให้รู้ว่าเราได้คลิกปุ่มแล้ว ถ้าใส่เสียงแปลกๆ ก็ท้าให้งานน่าสนใจมากขึ้นเช่น                เสียงกริ่ง เสียงปืน เป็นต้น
          ตำแหน่งที่ใส่เสียง
            1. ใส่ที่เฟรมบน Timeline เป็นการใส่เสียงลงไปที่เฟรมว่าจะใส่ที่เฟรมใด ส่วนใหญ่                 จะเป็นเสียงดนตรีบรรเลงประกอบวนซ้ำๆ ไปเรื่อยๆ (Sound Loop)


                                       2. ใส่ที่ซิมโบลปุ่ม(Button) เป็นการใส่เสียงที่ปุ่ม โดยใส่ที่สถานะของปุ่ม ส่วนมาก                    จะใสที่สถานะ Over และ Down คือจะมีเสียงเมื่อน้าเมาส์วางที่ปุ่มหรือเมื่อคลิกปุ่ม เสียงที่ใส่จะ                       เป็นเสียงประกอบสั้นๆ(Sound Effect)    


                ไฟล์สกุลของเสียง
                    ไฟล์สกุลของเสียงที่น้ามาใช้ในงาน Flash ถ้าเป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานระบบ                              Windows จะใช้ไฟล์สกุล wav และ mp3 ส่วนคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานระบบ Macintosh                                 จะใช้ไฟล์สกุล mp3 กับ aiff         
                 ตัวอย่างการใส่เสียงลงในเฟรม (Sound Loop)
                     วิธีการใส่จะเพียงแค่คลิกที่คีย์เฟรมแล้วเลือกเพลงที่ต้องการใส่ลงไป
                    1.  สร้างชิ้นงานหรือเปิดชิ้นงานที่ยังไม่มีเสียงประกอบในที่นี้ เลือกเปิดชิ้นงานชื่อrain.fla


                                               2. คลิกเมนู File => Import =>Import to Library     


                       3.  คลิกไฟล์เสียงที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม Open


                               4.  เสียงจะถูกน้ามาเก็บไว้ที่ LIBRARY 


                                               5. คลิกปุ่ม Insert Layer เพื่อเพิ่มเลเยอร์ใหม่   

           
                          6.คลิกที่เฟรมแรกเพื่อใส่เสียง


                                               7. ที่ SOUND เลือก NAME เป็นไฟล์เสียงที่เราน้าเข้ามา      


                                               8. คลิกเลือก Sync เป็น Start และเลือก Loop


                       9. เสียงจะถูกใส่ลงในเฟรม


                                               10. กดปุ่ม Ctrl + Enter เพื่อทดสอบเสียง จะได้ยินเสียงบรรเลงประกอบมูวี่ 




       


2.2.6.5 การสร้างแอนิเมชันแบบทวีน

2.2.5.4   การสร้างแอนิเมชันแบบทวีน
            Shape Tween คือการสร้างภาพเคลื่อนไหวให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่างจากรูปหนึ่งเป็นอีกรูปหนึ่งเช่น จากรูป สี่เหลี่ยมเป็นรูปวงกลม หรือ จากรูปเป็นข้อความ เป็นต้น
               ขั้นที่ 1 คลิกที่เฟรมที่ 1 แล้ววาดรูปวัตถุขึ้นมาหนึ่งรูป
                           ขั้นที่ 2 คลิกที่เฟรมที่ 1 (สำคัญมากเพราะถ้าไม่คลิกตัวเลือกจะไม่แสดงขึ้นในหน้าต่าง                                                      Properties)เลือกคำสั่ง Shape ในช่อง Tween
                                       ขั้นที่ 3 คลิกขวาที่เฟรมที่ 20 แล้วเลือกคำสั่ง Insert Key frame
                           ขั้นที่ 4 คลิกเฟรมที่ 20 แล้วกดปุ่ม Delete ลบวัตถุเดิมออกตอนนี้บนไทม์ไลน์จะมีแถบเส้น                                       ประสีเขียว
                                       ขั้นที่ 5 วาดรูปที่ต้องการให้เปลี่ยนลงไปในเฟรมที่ 20
               ขั้นที่ 6 กดปุ่ม Ctrl+Enter เพื่อทดสอบการเปลี่ยนแปลงจะเห็นภาพค่อยๆเปลี่ยนจากรูป                                         หนึ่งเป็นอีกรูปหนึ่ง


                  การสร้างงานแอนิเมชันด้วยเลเยอร์มาส์ก
                               การ Mask คือการบังส่วนที่ไม่ต้องการให้เห็นไว้ และโชว์เฉพาะส่วนที่ต้องการ ลักษณะ                          เดียวกับการส่องไฟไปที่วัตถุในความมืด ซึ่งจะเห็นวัตถุเฉพาะบริเวณที่ไฟส่องเท่านั้น
           ขั้นที่ 1 เขียนวัตถุหรือนำภาพที่ต้องการที่ เฟรมแรกของLayer 1



                       ขั้นที่ 2 เพิ่ม Layer โดยคลิกหมายเลข 1 แล้วเขียนรูปทรงส่วนที่จะไม่บัง (ส่วนที่เป็นไฟส่อง) 
                                 ตามตัวอย่างเป็นรูปทรงวงกลม โดยเขียนที่ Layer 2 (หมายเลข 2)



                                   ขั้นที่ 3 คลิกขวา Insert frame ที่เฟรมที่ 40 บนเลเยอร์ 1



                       ขั้นที่ 4 คลิกขวา ที่เฟรมที่ 1 ของ เลเยอร์ 2 แล้วเลือกคำสั่ง Create Motion Tween



                                   ขั้นที่ 5  คลิกขวาที่เฟรมที่ 40 ของเลเยอร์ 2 เลือกคำสั่ง Insert Key frame



                                   ขั้นที่ 6 ณ เฟรมที่ 40 ใช้ลูกศรสีดำจับรูปวงกลมเลื่อนไปตำแหน่งอื่นหรือขยายรูปให้มีขนาด                                                 ใหญ่ขึ้นตามต้องการ



           ขั้นที่ 7 คลิกขวาที่ชื่อเลเยอร์ 2แล้วเลือกคำสั่ง Mask จากนั้นกดปุ่ม Ctrl+Enter เพื่อดูผลงาน



                                    8. ก็จะปรากฏดังภาพด้านล่าง